Shibuya Filler knowledge Management

Corrective Activities Filler

Corrective Activities Filler

วิธีการปฏิบัติงานเครื่องบรรจุ (ไลน์ขวด)
PREPARATION AND OPERATION FOR FILLER (LINE PET)

Operation Filler หัวข้อหลักดังนี้

กลุ่ม: Filler C การบำรุงรักษาประเภท : ขันแน่น ตำแหน่งที่ดำเนินการ: 1-A (Handle infeed Screw) วันที่ดำเนินการ: 19 Jun 18
จุดที่ดำเนินการปรับปรุง




รายละเอียดการดำเนินการ: เนื่องจากจุดนี้เวลาเปลี่ยน size จะต้องมีการเปลี่ยน infeed screw หากไท่ขันแน่นจะทำให้นำขวดเข้าเครื่องมีปัญหา ขวดร่วง ขวดติดทำให้เกิดปัญหาได้

แนวทางการปรับปรุงแก้ไข




รายละเอียดการดำเนินการ:ทำ mark เพื่อรู้ตำแหน่งเมื่อใส่ infeed screw เสร็จแล้วมีการเคลื่อนจากเดิมหรือไม่ และเมื่อมีการ run ต้องไม่เคลื่อนจากตำแหน่งเดิม

การดำเนินการจริง




รายละเอียดการดำเนินการ: ทำ mark เพื่อรู้ตำแหน่งเมื่อใส่ infeed screw เสร็จแล้วมีการเคลื่อนจากเดิมหรือไม่ และเมื่อมีการ run ต้องไม่เคลื่อนจากตำแหน่งเดิม

ผลที่คาดว่าจะได้รับ: เพื่อให้ทราบตำแหน่งและสังเกตุได้ง่ายหากมีการขยับจากตำแหน่งเดิม โดยหากมีการเคลื่อนที่ทำให้เกิดของเสียขณะเดินเครื่อง



กลุ่ม: Filler C การบำรุงรักษาประเภท :ขันแน่น ตำแหน่งที่ดำเนินการ: 1-B (Giude infeed screw) วันที่ดำเนินการ: 19 Jun 18
จุดที่ดำเนินการปรับปรุง




รายละเอียดการดำเนินการ: เนื่องจากจุดนี้เวลาเปลี่ยนsizeจะต้องมีการเปลี่ยน screw infeed หากไม่ขันแน่นจะทำให้นำขวดเข้าเครื่องมีปัญหา ขวดร่วง ขวดติด

แนวทางการปรับปรุงแก้ไข




รายละเอียดการดำเนินการ: ทำ mark เป็น1-b1.1-b2เพื่อให้รู้ตำแหน่งเมื่อใส screw infeed เสร็จแล้วมีการเคลื่อนจากเดิมหรือไม่และเมื่อเครื่องรันต้องไม่เคลื่อนจากตำแหน่งเดิม

การดำเนินการจริง




รายละเอียดการดำเนินการ:ทำ mark เป็น1-b1.1-b2เพื่อให้รู้ตำแหน่งเมื่อใส screw infeed เสร็จแล้วมีการเคลื่อนจากเดิมหรือไม่และเมื่อเครื่องรันต้องไม่เคลื่อนจากตำแหน่งเดิม

ผลที่คาดว่าจะได้รับ: เมื่อเครื่องทำงาน Giude infeed screw จะไม่มีการขยับจากตำแหน่งเดิม และไม่ทำให้เกิดของเสียขณะเดินเครื่อง เพราะหากปรับมากเกินไปจะทำให้ขวดร่วง


กลุ่ม: Filler C การบำรุงรักษาประเภท : ขันแน่น ตำแหน่งที่ดำเนินการ: 2-E (Exhaust Blower) วันที่ดำเนินการ: 19 Jun 18
จุดที่ดำเนินการปรับปรุง




รายละเอียดการดำเนินการ: เนื่องจากจุดนี้เวลาเปลี่ยนsize จะต้องมีการเปลี่ยนปรับระดับ sensor จับขวดเพราะความสูงขวดไม่เท่ากัน

แนวทางการปรับปรุงแก้ไข




รายละเอียดการดำเนินการ: ทำ mark เป็น 1-c1,1-c2เพื่อรู้ตำแหน่งและเมื่อเครื่องรันต้องไม่เคลื่อนจากตำแหน่งเดิม 1-c1เป็นระดับของแต่ละsize 1-c2จะเป็น sensor จับขวด

การดำเนินการจริง




รายละเอียดการดำเนินการ:ทำ mark เป็น 1-c1,1-c2เพื่อรู้ตำแหน่งและเมื่อเครื่องรันต้องไม่เคลื่อนจากตำแหน่งเดิม 1-c1เป็นระดับของแต่ละsize 1-c2จะเป็น sensor จับขวด

ผลที่คาดว่าจะได้รับ: เวลาเปลี่ยน sixe หากบริเวณนี้ไม่ขันแน่น หรือ ขันไม่ตรงตำแหน่ง จะทำให้เวลาเดินเครื่องเกิดของเสียเยอะ หรือบางครั้ง reject ของเสียไม่ตรง



กลุ่ม: Filler C การบำรุงรักษาประเภท : ขันแน่น ตำแหน่งที่ดำเนินการ: 1-D (Exit Guide) วันที่ดำเนินการ: 19 Jun 18
จุดที่ดำเนินการปรับปรุง




รายละเอียดการดำเนินการ: เนื่องจากจุดนี้เวลาเปลี่ยน size จะเปลี่ยน part หากขันไม่แน่น guide อาจเคลื่อนขวางทางจะทำให้ไม่สามารถเดินต่อได้จึงต้อง markเพื่อไม่ให้ลืมขันแน่นตอนเปลี่ยนsizeและแก้ไขทันก่อนการCOP

แนวทางการปรับปรุงแก้ไข




รายละเอียดการดำเนินการ: จัดทำ mark แสดงการขันแน่นเพื่อป้องกันการลืมขณะ change size เสร็จและเมื่อเดินเครื่องจะได้เห็นเพื่อไม่ให้กระทบต่อตัวเครื่อง

การดำเนินการจริง




รายละเอียดการดำเนินการ:จัดทำ mark แสดงการขันแน่นเพื่อป้องกันการลืมขณะ change size เสร็จและเมื่อเดินเครื่องจะได้เห็นเพื่อไม่ให้กระทบต่อตัวเครื่อง

ผลที่คาดว่าจะได้รับ: เพื่อให้ทราบตำแหน่งและสังเกตได้ง่ายหากมีการขยับจากตำแหน่งเดิม โดยหากมีการเคลื่อนนี่ทำให้เกิดของเสียขณะเดินเครื่อง



กลุ่ม: Filler C การบำรุงรักษาประเภท : ขันแน่น ตำแหน่งที่ดำเนินการ: 1-E (Cap Sorter Cap Sorter) วันที่ดำเนินการ: 19 Jun 18
จุดที่ดำเนินการปรับปรุง




รายละเอียดการดำเนินการ: การเคลื่อนของตำแหน่งจะทำให้ฝากลับด้านเข้าไปติดที่ Cap Sterilizer และหากหลุดไปที่ capper จะทำให้ ring ฝากติดที่ Cap Check ทำให้เกิดของเสียเกิดการปิดฝาไม่สมบูรณ์

แนวทางการปรับปรุงแก้ไข




รายละเอียดการดำเนินการ: ทำสัญลักษณ์ mark ตำแหน่งให้อยู่ในจุดที่ฝาไม่กลับด้าน และกำหนด เป็นจุด 1-E

การดำเนินการจริง




รายละเอียดการดำเนินการ:ทำสัญลักษณ์ mark ตำแหน่งให้อยู่ในจุดที่ฝาไม่กลับด้าน และกำหนด เป้นจุด 1-E

ผลที่คาดว่าจะได้รับ: เพื่อให้ทราบตำแหน่งและสังเกตได้ง่ายหากมีการขยับจากตำแหน่งเดิม โดยหากมีการเคลื่อนที่ทำใหญ่เกิดปัญหาฝากลับด้านไปติดที่ Cap Sterilizer



กลุ่ม: Filler C การบำรุงรักษาประเภท : ขันแน่น ตำแหน่งที่ดำเนินการ: 1-F(Belt cap sorter) วันที่ดำเนินการ: 19 Jun 18
จุดที่ดำเนินการปรับปรุง




รายละเอียดการดำเนินการ: เมื่อซ่อมแซมหรือ Belt ขาดจะต้องทำการหมุนตำแหน่งนี้เพื่อหย่อนสาย ทำให้เมื่อหมุนกลับไม่รู้ตำแหน่งเดิมอยู่ไหน ความตึงงของ Belt อาจทำให้ขาดบ่อย หรือเมื่อเดินเครื่องอาจขยับ

แนวทางการปรับปรุงแก้ไข




รายละเอียดการดำเนินการ: ทำสัญลักษณ์ mark ตำแหน่งขันแน่นไว้เมื่อเดินเครื่องจะได้เห็นว่า Belt ไม่หย่อน หรือตึงเกินไป โดยกำหนจุดเป็น !-F1,1-F2

การดำเนินการจริง




รายละเอียดการดำเนินการ:: ทำสัญลักษณ์ mark ตำแหน่งขันแน่นไว้เมื่อเดินเครื่องจะได้เห็นว่า Belt ไม่หย่อน หรือตึงเกินไป โดยกำหนจุดเป็น !-F1,1-F2

ผลที่คาดว่าจะได้รับ: เพื่อให้ทราบตำแหน่งและสังเกตได้ง่ายหากมีการขยับจากตำแหน่งเดิม โดยหากมีการซ่อมแซมสาย Belt หรือ Belt ขาด จะต้องทำการปรับตำแหน่งนี้เพื่อไม่ให้ Belt หย่อนหรือตึงจนเกินไป หากตึงเกินจะทำให้เกิดปัญหาและเสียเวลาในการซ่อมแซม หรือเกิดของเสียเกิดขึ้นได้


กลุ่ม: Filler C การบำรุงรักษาประเภท : ขันแน่น ตำแหน่งที่ดำเนินการ: 1-G (FIA801) วันที่ดำเนินการ: 19 Jun 18
จุดที่ดำเนินการปรับปรุง




รายละเอียดการดำเนินการ: ตำแหน่งไม่มีรอย mark เพราะเมื่อมีการซ่อมแซมหรือขันไม่แน่นจะเคลื่อนจากตำแหน่งเดิมเครื่องจะมีการ flow alarm ทำให้เสียเวลาในการปรับ

แนวทางการปรับปรุงแก้ไข




รายละเอียดการดำเนินการ: ทำสัญลักษณ์ mark ตำแหน่งให้ทราบว่าขันแน่น และไม่เคลื่อนจากตำแหน่งเดิม กำหนดจุดเป็น 1-G

การดำเนินการจริง




รายละเอียดการดำเนินการ:ทำสัญลักษณ์ mark ตำแหน่งให้ทราบว่าขันแน่น และไม่เคลื่อนจากตำแหน่งเดิม กำหนดจุดเป็น 1-G

ผลที่คาดว่าจะได้รับ: เพื่อให้ทราบตำแหน่งของแต่ละจุดว่าเคลื่อนจากตำแหน่งเดิมหรือมีการปรับหรือเกิดการหลวมหรือไม่ เพราะหากเกิดการหลวม จะทำให้เกิด flow ที่จุด bottle interior ไม่นิ่งและเครื่องหยุดบ่อย และทำให้มีปัญหาทำให้เกิดของเสียได้


กลุ่ม: Filler C การบำรุงรักษาประเภท : ขันแน่น ตำแหน่งที่ดำเนินการ: 1-H(FIA802) วันที่ดำเนินการ: 19 Jun 18
จุดที่ดำเนินการปรับปรุง




รายละเอียดการดำเนินการ: ตำแหน่งไม่มีรอย Mark เพราะเมื่อมีการซ่อมแซมหรือขันไม่แน่นจะเคลื่อนจากตำแหน่งเดิมเครื่องจะมีการ Flow Alarm ทำให้เสียเวลาในการปรับ

แนวทางการปรับปรุงแก้ไข




รายละเอียดการดำเนินการทำสัญลักษณ์ mark ตำแหน่งให้ทราบว่าขันแน่น และไม่เคลื่อนจากตำแหน่งเดิม กำหนดจุดเป็น 1-H

การดำเนินการจริง




รายละเอียดการดำเนินการ:ทำสัญลักษณ์ mark ตำแหน่งให้ทราบว่าขันแน่น และไม่เคลื่อนจากตำแหน่งเดิม กำหนดจุดเป็น 1-H

ผลที่คาดว่าจะได้รับ: เพื่อให้ทราบตำแหน่งของแต่ละจุดว่าเคลื่อนจากตำแหน่งเดิมหรือมีการปรับหรือเกิดการหลวมหรือไม่ เพราะหากเกิดการหลวม จะทำให้เกิด flow ที่จุด bottle interior ไม่นิ่งและเครื่องหยุดบ่อย และทำให้มีปัญหาทำให้เกิดของเสียได้


กลุ่ม: Filler C การบำรุงรักษาประเภท : ขันแน่น ตำแหน่งที่ดำเนินการ: 1-I(FIA803) วันที่ดำเนินการ: 19 Jun 18
จุดที่ดำเนินการปรับปรุง




รายละเอียดการดำเนินการ: ตำแหน่งไม่มีรอย mark เพราะเมื่อมีการซ่อมแซมหรือขันไม่แน่นจะเคลื่อนจากตำแหน่งเดิมเครื่องจะมีการ flow alarm ทำให้เสียเวลาในการปรับ

แนวทางการปรับปรุงแก้ไข




รายละเอียดการดำเนินการ: จัดทำตำแหน่งสัญลักษณ์เป็น 1-I1,1-I2 เพื่อให้ทราบว่าขันแน่นและไม่เคลื่อนจากตำแหน่งเดิม

การดำเนินการจริง




รายละเอียดการดำเนินการ:จัดทำตำแหน่งสัญลักษณ์เป็น 1-I1,1-I2 เพื่อให้ทราบว่าขันแน่นและไม่เคลื่อนจากตำแหน่งเดิม

ผลที่คาดว่าจะได้รับ: เพื่อให้ทราบตำแหน่งของแต่ละจุดว่าเคลื่อนจากตำแหน่งเดิมหรือมีการปรับ หรือเกิดการหลวมหรือไม่ เพราะหากเกิดการหลวมจะทำให้ Flow ที่ ชุด Cap Sterilizer ไม่นิ่งและเครื่องหยุดบ่อยและทำให้มีปัญหาทำให้เกิดของเสียได้


กลุ่ม: Filler C การบำรุงรักษาประเภท : ขันแน่น ตำแหน่งที่ดำเนินการ: 1-J (CSA Inlet) วันที่ดำเนินการ: 19 Jun 18
จุดที่ดำเนินการปรับปรุง




รายละเอียดการดำเนินการ: ตำแหน่งไม่มีรอย mark เพราะเมื่อมีการซ่อมแซมหรือขันไม่แน่นจะเคลื่อนจากตำแหน่งเดิมเครื่องจะมีการ flow alarm ทำให้เสียเวลาในการปรับ

แนวทางการปรับปรุงแก้ไข




รายละเอียดการดำเนินการ: จัดทำตำแหน่งสัญลักษณ์เป็น 1-J1,1-J2 เพื่อให้ทราบว่าขันแน่นและไม่เคลื่อนจากตำแหน่งเดิม

การดำเนินการจริง




รายละเอียดการดำเนินการ:จัดทำตำแหน่งสัญลักษณ์เป็น 1-J1,1-J2 เพื่อให้ทราบว่าขันแน่นและไม่เคลื่อนจากตำแหน่งเดิม

ผลที่คาดว่าจะได้รับ: เพื่อให้ทราบตำแหน่งของแต่ละจุดว่าเคลื่อนจากตำแหน่งเดิมหรือมีการปรับ หรือเกิดการหลวมหรือไม่ เพราะหากเกิดการหลวมจะทำให้ Flow ที่ ชุด Cap Sterilizer ไม่นิ่งและเครื่องหยุดบ่อยและทำให้มีปัญหาทำให้เกิดของเสียได้


กลุ่ม: Filler C การบำรุงรักษาประเภท : Lubrication ตำแหน่งที่ดำเนินการ: 2-C(CA Module) วันที่ดำเนินการ: 19 Jun 18
จุดที่ดำเนินการปรับปรุง




รายละเอียดการดำเนินการ: บริเวณหน้างาน ไม่ได้บอกชนิดจาระบี, จำนวนชุด, จำนวนที่จะใช้, และรอบความถี่การอัดจาระบี

แนวทางการปรับปรุงแก้ไข




รายละเอียดการดำเนินการ: จัดทำจัดทำสติ๊กเกอร์แยกสี โดยบอกรายละเอียดของชนิด, spec ,ความถี่, จำนวนจุดต่อจุด ติดตามจุดต่างๆหน้างาน

การดำเนินการจริง




รายละเอียดการดำเนินการ:จัดทำสติ๊กเกอร์แยกสี โดยบอกรายละเอียดของชนิด, spec ,ความถี่, จำนวนจุดต่อจุด ติดตามจุดต่างๆหน้างาน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ: เพื่อให้ทราบตำแหน่งจุดต่างๆ, spec ,รอบความถี่การอัด ,จำนวนอัดต่อจุด เพื่อสะดวกและประหยัดเวลาในการอัดจาระบีในแต่ละรอบ และยังทำให้ผู้ไม่ชำนาญสามารถทำได้ง่ายด้วยตนเองอีก


กลุ่ม: Filler C การบำรุงรักษาประเภท : Monitor ตำแหน่งที่ดำเนินการ: 5-A(Warm Speed Reducer) วันที่ดำเนินการ: 19 Jun 18
จุดที่ดำเนินการปรับปรุง




รายละเอียดการดำเนินการ: จุเติมน้ำมันยังไม่ได้ระบุรอบการเติมและ level

แนวทางการปรับปรุงแก้ไข




รายละเอียดการดำเนินการ: จุเติมน้ำมันจะมี 2จุด โดยจะระบุตำแหน่ง 5-A1,5-A2และทำlevel ค่าmax min เมื่อถึงระดับ min ให้ทำการเติม และ กำหนดรอบเปลี่ยนถ่ายจะเป็น 1 ครั้งต่อไป

การดำเนินการจริง




รายละเอียดการดำเนินการ:จุเติมน้ำมันทำ levelค่า max min เมื่อถึงระดับmin ให้ทำการเติมและกำหนดรอบเปลี่ยนถ่าย จะเป็น 1 ครั้งต่อปี โดยจะติดตามรายละเอียดบอกชื่อจุดและชนิดของน้ำมัน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ: เพื่อให้สังเกตได้ง่ายขึ้นเมื่อมีน้ำมันรั่ว เมื่อน้ำมันลดลงทำให้รู้ว่าจะต้องเติมน้ำมันชนิดไหน และเติมเมื่อไหร่



กลุ่ม: Filler C การบำรุงรักษาประเภท : Cleaning ตำแหน่งที่ดำเนินการ: 3-A (Air Shower Blower) วันที่ดำเนินการ: 19 Jun 18
จุดที่ดำเนินการปรับปรุง




รายละเอียดการดำเนินการ: บริเวณภายในทำความสะอาดได้ยาก ขณะเดินเครื่อง และเมื่อมีขวดร่วงลงข้างในเยอะจนไปอุดท่อไหลเวียนจะทำให้ข้างในเกิดกลิ่นเหม็น หรือเมื่อติดขัดบริเวณสายพานจะทำให้ขวดล้ม และต้องหยุดเครื่องเคลียขวดออก

แนวทางการปรับปรุงแก้ไข




รายละเอียดการดำเนินการ: จัดทำตะแกรงกันขวดร่วงลงข้างใน และ ทำฝาให้ใสเพื่อมองเห็นข้างในอาจทำรูแค่มองเห็นข้างใน

การดำเนินการจริง




รายละเอียดการดำเนินการ:ทำฝาให้ใสเพื่อมองเห็นข้างในอาจทำรูแค่มองเห็นข้างใน(รอดำเนินการเรื่องตะแกรงกันขวดร่วง)

ผลที่คาดว่าจะได้รับ: เพื่อป้องกันการหมักของสิ่งสกปรกต่างๆ ขยะ เศษขวด ฝา ภายใต้เครื่อง และเพื่อให้สะดวกในการทำความสะอาด



กลุ่ม: Filler C การบำรุงรักษาประเภท : Cleaning ตำแหน่งที่ดำเนินการ: 3-B (under MC Area) วันที่ดำเนินการ: 19 Jun 18
จุดที่ดำเนินการปรับปรุง




รายละเอียดการดำเนินการ: บริเวณภายในใต้เครื่องทำความสะอวดได้ยาก และเมื่อมีขวดและฝาร่วงหรือกลิ้งเข้าไปข้างใต้เยอะจะทำให้เกิดการสะสมทำให้เกิดเชื้อราบริเวณเครื่อง หรือสะสมตะไคร่ได้ง่าย

แนวทางการปรับปรุงแก้ไข




รายละเอียดการดำเนินการ: ทำตะแกรงรอบเครื่องข้างใต้ เพื่อกันขวดร่วงลงไปเข้าไปข้างใน หรือติดไฟส่องเพื่อมองเห็นง่ายตอนทำความสะอาด

การดำเนินการจริง




รายละเอียดการดำเนินการ:ทำตะแกรงหรือ cover รอบเครื่องข้างใต้เพื่อกันขวดร่วงเข้าไปข้างในหรือติดไฟส่องเพื่อมองเห็นง่ายตอนทำความสะอาด

ผลที่คาดว่าจะได้รับ: เพื่อป้องกันการหมักหมมของสิ่งสกปรกต่างๆ ขยะ เสษขวด ฝา ภายใต้เครื่อง และเพื่อให้สะดวกในการทำความสะอาด



กลุ่ม: Filler C การบำรุงรักษาประเภท :Change size ตำแหน่งที่ดำเนินการ: 4-E (Exit Starwheel) วันที่ดำเนินการ: 19 Jun 18
จุดที่ดำเนินการปรับปรุง




รายละเอียดการดำเนินการ: การเคลื่อนของตำแหน่งจะทำให้ฝากลับด้านเข้าไปติดที่ Cap Sterilizer และหากหลุดไปที่ capper จะทำให้ ring ฝากติดที่ Cap Check ทำให้เกิดของเสียเกิดการปิดฝาไม่สมบูรณ์

แนวทางการปรับปรุงแก้ไข




รายละเอียดการดำเนินการ: โดยจะทำ mark กำหนดแต่ละตัวเป็น A B Cและที่บริเวณเครื่องก็ทำสัญลักษณ์ตำแหน่งตรงกันเพื่อง่ายต่อการ change size

การดำเนินการจริง




รายละเอียดการดำเนินการ:โดยจะทำ mark กำหนดแต่ละตัวเป็น A B Cแล ละที่บริเวณเครื่องก็ทำสัญลักษณ์ตำแหน่งตรงกันเพื่อง่ายต่อการ change size

ผลที่คาดว่าจะได้รับ: เพื่อประหยัดเวลา change size และทำให้รู้ว่า part ตัวนี้ใส่ตำแหน่งไหนและเพื่อให้สะดวกต่อการเปลี่ยนขอผู้ที่ไม่ชำนาญหรือผู้ที่ไม่เคยเปลี่ยนก็สามารถเปลี่ยนได้



กลุ่ม: Filler C การบำรุงรักษาประเภท : Change size ตำแหน่งที่ดำเนินการ: 4-F(Main Guide) วันที่ดำเนินการ: 19 Jun 18
จุดที่ดำเนินการปรับปรุง




รายละเอียดการดำเนินการ: เมื่อเปลี่ยน size จะมีการเปลี่ยน Main Guide และจะมี 2 ตัวที่ตัว main guide จะบอกแค่ size

แนวทางการปรับปรุงแก้ไข




รายละเอียดการดำเนินการ: โดย mark กำหนดแต่ละตัวเป็นE ,D และที่บริเวณเครื่องก็ทำสัญลักษณ์ตำแหน่งตรงกันเพื่อง่ายต่อการchange size

การดำเนินการจริง




รายละเอียดการดำเนินการ:โดย mark กำหนดแต่ละตัวเป็นE ,D และที่บริเวณเครื่องก็ทำสัญลักษณ์ตำแหน่งตรงกันเพื่อง่ายต่อการchange size

ผลที่คาดว่าจะได้รับ: เพื่อประหยัดเวลา change size และทำให้รู้ว่า part ตัวนี้ใส่ตำแหน่งไหนและเพื่อให้สะดวกต่อการเปลี่ยนขอผู้ที่ไม่ชำนาญหรือผู้ที่ไม่เคยเปลี่ยนก็สามารถเปลี่ยนได้



กลุ่ม: Filler C การบำรุงรักษาประเภท : change size ตำแหน่งที่ดำเนินการ: 4-I (Reject Sensor) วันที่ดำเนินการ: 19 Jun 18
จุดที่ดำเนินการปรับปรุง




รายละเอียดการดำเนินการ: เมื่อเปลี่ยน size จะมีการปรับระยะความสูงของ sensor ซึ่งที่หน้างานจะไม่มี list การปรับแต่ละ size

แนวทางการปรับปรุงแก้ไข




รายละเอียดการดำเนินการ: จัดทำ list การปรับระดับความสูง sensor ของแต่ละsize ไว้ที่หน้างาน เพื่อง่ายต่อการปรับเปลี่ยน size แก่ผู้ไม่ชำนาญ

การดำเนินการจริง




รายละเอียดการดำเนินการ:จัดทำ list การปรับระดับความสูง sensor ของแต่ละsize ไว้ที่หน้างาน เพื่อง่ายต่อการปรับเปลี่ยน size แก่ผู้ไม่ชำนาญ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ: เมื่อมีการ change size จะทำให้ง่ายต่อการปรับตาม size นั้นๆ หรือเพื่อให้คนที่ไม่ชำนาญสามารถปรับได้เอง และง่าย อีกทั้งสามารถรู้ว่าตำแหน่งไหนปรับอะไร โดยที่ไม่ต้องเสียเวลาในการปรับมากในการ change size ในแต่ละรอบ


กลุ่ม: Filler C การบำรุงรักษาประเภท : change size ตำแหน่งที่ดำเนินการ: 4-J (Air blower Shower) วันที่ดำเนินการ: 19 Jun 18
จุดที่ดำเนินการปรับปรุง




รายละเอียดการดำเนินการ: : เมื่อเปลี่ยน size จะมีการปรับระยะความสูงของ sensor ซึ่งที่หน้างานจะไม่มี list การปรับแต่ละ size

แนวทางการปรับปรุงแก้ไข




รายละเอียดการดำเนินการ: จัดทำ list การปรับระดับความสูง sensor ของแต่ละsize ไว้ที่หน้างาน เพื่อง่ายต่อการปรับเปลี่ยน size แก่ผู้ไม่ชำนาญโดยกำหนดจุดเป็น 4-J1,4-J2

การดำเนินการจริง




รายละเอียดการดำเนินการ:จัดทำ list การปรับระดับความสูง sensor ของแต่ละsize ไว้ที่หน้างาน เพื่อง่ายต่อการปรับเปลี่ยน size แก่ผู้ไม่ชำนาญโดยกำหนดจุดเป็น16 และ17ในตาราง change size

ผลที่คาดว่าจะได้รับ: : เมื่อมีการ change size จะทำให้ง่ายต่อการปรับตาม size นั้นๆ หรือเพื่อให้คนที่ไม่ชำนาญสามารถปรับได้เอง และง่าย อีกทั้งสามารถรู้ว่าตำแหน่งไหนปรับอะไร โดยที่ไม่ต้องเสียเวลาในการปรับมากในการ change size ในแต่ละรอบ


กลุ่ม: Filler C การบำรุงรักษาประเภท : change size ตำแหน่งที่ดำเนินการ: 4-B (Part change size) วันที่ดำเนินการ: 19 Jun 18
จุดที่ดำเนินการปรับปรุง




รายละเอียดการดำเนินการ: Partเปลี่ยน size ของเดิมจะมีแค่สัญลักษณ์ size อย่างเดียวไม่ได้แยก line และที่จัดเก็บไม่เพียงพอมำให้เสียเวลาในการนำไปใช้งาน

แนวทางการปรับปรุงแก้ไข




รรายละเอียดการดำเนินการ:จัดทำที่เก็บ Part โดยแยกสีทำสัญลักษณ์สี line, Size, mark ตำแหน่งที่จะเปลี่ยน และชื่อ Part ติดด้วย 1.infeed screw 2. Main guide 3.Exit starwheel 4. Exit guide

การดำเนินการจริง




รายละเอียดการดำเนินการ:จัดทำที่เก็บ Part โดยแยกสีทำสัญลักษณ์สี line, Size, mark ตำแหน่งที่จะเปลี่ยน และชื่อ Part ติดด้วย 1.infeed screw 2. Main guide 3.Exit starwheel 4. Exit guide

ผลที่คาดว่าจะได้รับ: เพื่อให้ทราบว่าpart ตัวไหนชื่อะไร และ size ไหน เพื่อง่ายต่อการนำไปเปลี่ยน part